บทความ

応用言語学から

รูปภาพ
    อยากจะบอกว่าเป็น บล็อกสุดท้ายแล้ววว เย้ๆๆ     ถือว่าการทำบล็อกเป็นสิ่งที่เหนื่อยที่สุด และใช้พลังงานเยอะสุดในรายวิชานี้แล้ว แต่พอจะจบก็รู้สึกใจหายไม่น้อยเลย..        อย่างที่ได้บอกมาก่อนว่า ตอนแรกไม่ได้มีความต้องการจะได้เรียนวิชานี้ขนาดนั้น เพราะส่วนตัวรู้สึกว่าไม่ค่อยถนัดภาษาศาสตร์ แต่ด้วยต้องการที่จะเก็บหน่วยกิต และพอมาดูซิลิบัสของเพื่อนแล้ว รู้สึกว่าเนื้อหาค่อนข้างจะน่าเรียน ดูมีอะไรที่เป็นสกิลมากกว่าที่คิดไว้ แล้วพอมาเรียนรู้สึกได้โอเคมากกก      อย่างแรกคืออาจารย์กนกรรณน่ารักมากก อันนี้กำลังใจสำคัญในการเรียนเลย อย่างเนื้อหาทางภาษาศาสตร์ ถ้าไม่มีอาจารย์มาอธิบายอ่านเองคงแย่แน่ ฮ่าๆ แล้วการสอนของอาจารย์หรือพวก task จะอินไปตามทฤษฎีแนวคิด ทำให้เรามองเห็นภาพชัดขึ้น และรู้สึกว่าอะไรเข้าไม่เข้ากับตัวเอง..     การที่อาจารย์ลองให้ทำดูก่อน ค่อยมาสอนหลักการเทคนิค(ที่ดี)ทีหลัง ทำให้รู้สึกว่าจำกว่าปกติเพราะตอนที่ทำครั้งแรกไม่คิดมากก็สมองโล่งไปเลย ฮ่าๆ แต่การที่ได้รับ feedback ย้อนหลังด้วย ทำให้เข้าใจความถูกต้องและความผิดพลาดของตัวเองมากขึ้น พร้อมกับการทำบล็อกก็ถือว่าเป

クリル&一行で伝える技

รูปภาพ
ในส่วนของเนื้อหาการเรียนครั้งสุดท้ายขออธิบายสั้้นๆ เกี่ยวกับ CLIL (クリル)   เป็นแนวคิดแนวคิดนึงที่ดังในประเทศญี่ปุ่น ซึี่งเป็นแนวคิดที่นำจุดเด่นของแต่ละแนวคิดมาใช้ โดยมุ่งสร้างผู้เรียนที่พร้อมในการดำเนินชีวิตในศัตวรรษที่ 21 นี้ เป็นแนวคิดที่เชื่อมทั้งในเรื่องเนื้อหา (content) และภาษา (language) เข้าด้วยกัน    เปรียบเสมือน smart phone ที่มีการรวมเอาหน้าที่ของโทรศัพท์ กล้องถ่ายรูปและอินเทอร์เน็ตมาเชื่อมผสานเข้าด้วยกันอย่างมีประสิทธิภาพ โดยที่ไม่ต้องมีทฤษฎีใหม่มารับรอง ทั้งผู้สอน ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้ง่าย เริ่มใช้ได้อย่างรวดเร็วถือว่าเป็นทฤษฎีที่เอาข้อดีของคนอื่นมารวมกัน น่าสนใจมาก ฮ่าๆ   一行で伝える技           ส่วนของคลาสนี้ก็ได้เรียนเรื่องภาษาญี่ปุ่นเพื่อโฆษณา  ก่อนหน้านี้ก็พอรู้ว่าการที่จะสร้างหรือคิดภาษาโฆษณา เราต้องคคิดคำที่ดูเด่นหรือตติดหู เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้คนจดจำและมาซื้อสินค้า แต่ครั้งนี้อาจารย์ได้บอกวิธีคือ 助詞抜き技・順序入れ替え技・体言止め、くり返し技・韻を踏んで3つの言葉を組み合わせる技、漢字、ひらがな、カタカナで印象は大違い、かけ声技、対句技、オノマトペ・シズル言葉技        ซึ่งก็มีหลายเทคนิคมากก คือก่อนหน้านี้ก็พอเข้าใจตัว

社会文化アプローチ&オチ

รูปภาพ
 วันนี้มา ทบทวนแนวคิดเรื่อง  sociacultural approach หรือ 社会文化アプローチ  ที่คิดค้นโดย Len Semyonovich Vygotsky ไม่มั่นใจว่าอ่านยังไง แหะๆ   Len Semyonovich Vygotsky       ซึ่งแนวคิดนี้จะเสนอว่า การเรียนรู้ของเด็กจะประสบคสวามสำเร็จได้จะต้องมีปฏิสัมพันธ์ ทางสังคมหรือกรทำอะไรร่วมกับ ผู้ใหญ่ที่เป็นคนรอบข้าง เช่น พ่อ แม่ ครู เป็นต้น    ในหนังสือที่ Vygotsky ได้เขียนตีพิมพ์อออกมา มีการเสนอถึงแนวคิด social constructivism    ซึ่งเป็นทฤษฎีสร้างความรู้ด้วยตนเองผ่านการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นในสังคม และอีกแนวคิดหนึ่งคือ แนวคิดพื้นที่รอยต่อพัฒนาการ หรือ ZPD (Zone of Proximal Development) กล่าวคือ เด็กหรือผู้เรียนจะก้าวข้ามพื้นที่รอยต่อพัฒนาการ(ZPD) ไปสู่ระดับพัฒนาการที่สามารถจะเป็นไปได้นั้น จะต้องได้รับความชี้แนะและช่วยเหลือจากคนในสังคมและบงคม ตีความได้ว่า"ฐานการช่วยเหลือ" ที่ช่วยผลักดันให้เด็กหรือผู้เรียนก้าวข้ามไปอีกขั้นหนึ่ง ซึ่งกระบวนการดังกล่าวนี้เรียกว่า scaffolding    ตัวอย่างเช่น สังเกตว่าในญี่ปุ่นมี お相撲さんที่เป็นคนต่างชาติมากมาย ทำไมお相撲さんเหล่านั้นถึงได้พูดภาษาญี่ปุ

統合&あいづち

รูปภาพ
Intergration (統合) ”中間言語知識の再構築長期記憶への貯蔵知識へのアクセスの自動化”   TBLT (task-based language teaching) วิธีการสอนนี้จะให้ความสนใจเรื่องการตระหนักรู้ และจิตสำนึกของผู้เรียน  วิธีการสอนนี้(น่าจะ)พัฒนามาจากวิธีการเรียน2แบบคือ  Fon F (focus on forms) เป็น audiolingual method เป็นการสอนแบบ เน้นรูปภาษาและไวยากรณ์ก็คือจะเน้นความถูกต้อง ทำให้พูดถูกต้องแต่คิดเองไม่เป็น เพราะว่าอาจารย์จะให้คำตอบมาทุกครั้ง  และ focus on meaning   (communicate approach) เป็นวิธีที่ถูกฝึกให้พูดออกมา โดยไม่สนใจรายละเอียดก็คือหน้าด้านเป็นหลัก (เป็นวิธีที่คนตะวันตกชอบ) แต่มีข้อเสียคือ ทำให้เกิด fossilization ทำให้ผิดแล้วแก้ไม่ได้ในระยะยาว จนทำให้ผู้เรียนหยุดพัฒนาในตัวภาษา สองวิธีนี้ที่ต่อมาทำให้การสอนพัฒนาจนเกิด TBLT หรือ focus on form (ไม่มี s จ้ะ) เกิดการสร้างกิจกรรม task นอกจากให้สร้าง output แล้วยังมีกิจกรรมให้ผู้เรียนหันไปใส่ใจในรูปภาษาด้วย (ทำให้มีี 気づき ต่อรูปภาษา เข้าใจความหมายแล้วมาดู form เพื่อได้พัฒนา) เช่น ในหนังสือ まるごと ที่ให้ฟังก่อนแล้วค่อยๆ ให้คำศัพท์ & ความหมาย เสร็จแล้วให้กลับไปฟัง

敬語

รูปภาพ
  ครั้งนี้มีวิทยากรจากมหาวิทยาลัย 東北 มาชื่ออาจารย์ 上原 มาสอนเรื่อง 敬語 ที่เป็นปัญหาสำหรับหลายๆ คนแม้กระทั่งคนญี่ปุ่นเอง ...   คือเรื่อง 敬語 ก่อนหน้านี้ก็เคยเรียนมาบ้างอยู่แล้ว เพราะฉะนั้นพวกเราทุกคนก็พอจะแยกออกว่า คำไหนเป็น 丁寧語 หรือคำไหนเป็น 謙譲語 เพราะตามในหนังสือเรียนที่ผ่านมาเขาก็สอนว่า お+vます(ตัดます)+になりますจะเป็น 丁寧語 ส่วน お+vます(ตัดます)+します จะเป็น 謙譲語 ส่วนคำเฉพาะต่างๆ (เช่นพวก  召し上がります) ที่อยู่นอกกฎก็ท่องจำเอา  ส่วนที่อาจารย์ให้สังเกตว่า ถ้าหากมีตัว ご ข้างหน้าเป็น 丁寧語 หรือคำยกย่องนี้ไม่สามารถให้ 私 เป็นประธานได้ ส่วนหากมีคำว่า 拝 ข้างหน้ามักจะเป็น 謙譲語  ส่วนตารางที่อาจารย์ให้มาใน รูป  活用形式      普通系 丁寧 形 尊敬系 お~になる お~になります 基本形 ~ ~ます 謙譲系 お~する お~します  บอกตรงๆ ว่าตารางนี้ทำให้อะไรๆเข้าใจง่ายขึ้นมากกก  ทำให้เห็นมุมมองของกริยา แยกแยะได้ง่ายว่าเรากำลังเคารพใครหรือถ่อมตัวอยู่ แบบฝึกหัดที่อาจารย์ให้โดยนำ活用形式 มาแบ่งทำให้เห็นภาพได้ชัดขึ้นมาก ว่ากำลังแสดงความเคารพต่อใครหรือคุยกับใครอย

アウトプット仮説&のだ

รูปภาพ
  ก่อนหน้านี้เราได้พูดถึงเรื่องของ インプット仮説 ไปแล้ว คราวนี้มาพูดเรื่อง アウトプット仮説 กันบ้าง (เพื่อความเข้าใจของตัวเอง)   Merrill   Swain アウトプットหรือภาษาญี่ปุ่นเรียกอีกคำว่า 産出 อีเราฟังครั้งแรกก็นึกถึง 出産  อาจารย์พูดครั้งแรกภาพมันลอยมาในหัวเลย ฮ่าๆ    อย่างแรกเลยวิธี アウトプット仮説 นี้ก็จะมีความต่างจาก インプット仮説 ตามคำเลยก็คือเป็นการนำออก(เอาความรู้ที่ input เข้าไปออกมา) เพราะฉะนั้นวิธีนี้จะไม่เหมาะกับผู้เรียน 初級  เพราะยังมี input หรือข้อมูลยังไม่พอที่จะนำไป output จึงเหมาะกับผู้เรียน 中級 ปลายๆถึงระดับ 上級 มากกว่า アウトプット仮説 เนี่ยเอาง่ายๆก็คือวิธีลองถูกลองผิด พอใช้แล้วผิดเราก็จะ เจ็บแล้วจำ จะ ทำให้เรารู้ถึง gap หรือช่องว่างของความรู้ตัวเอง     アウトプット仮説 มี3หลักดังนี้ Noticing function(気づき機能)       学習者は話す、書くといったアウトプットをすることで、自分が伝えたいこと(Want)と、自分の能力で伝えられること(Can)とのギャップに気づく ことができるというものです。このギャップに気づくことで、ギャップを埋めるために自分の中で不明瞭となっている知識を補強したり、新たな知識を得たりとインプットへの注意がより促されるようになるとしています。 Hypothesis-testing function(仮説検証機能)     学習者は何かを話したり書いたりアウトプットをする際に、いつもその中に何らかの仮説を暗黙的に含めており、 アウトプットをし、相手からフィードバ

インプット仮説 

รูปภาพ
        วันนี้มาเริ่มต้นด้วยการมาพูดถึง Stephen Krashen กันก่อน    คนนี้คือนักภาษาศาสตร์ที่คิดค้นแนวคิด インプット仮説 ซึ่งเป็นแนวคิดที่อ่านแล้วเข้าใจยากใช้ได้  โดยจะเป็นแนวคิดว่าด้วย  ①習得・学習仮説(ノン・インターフェイスの仮説) :学習と習得は別のものであり、ある言語について学習したとしても、それで話したり、読んだり出来るわけではない。実際に言語を使いこなすには言語を習得しなければならず、習得は学習から独立している。   ② 自然順序仮説 :ある言語を学ぶにはもっとも適した順序がある。何を先に学習し、何を後で学習するのが良いかには法則がある。「 自然習得順序仮説 」ともいう。   ③モニター仮説 :目標言語を学習する際、学習者は常に自分の話していること、書いていることが正しいかどうかをチェックしている。   ④ 情意フィルター仮説 :言語の習得を高めるには学習者の緊張・不安が少ないほど良い。   ⑤インプット仮説 :学習者が現在持っている知識よりも少し上のレベルの内容を学ぶことで習得は促進される。i + 1 とも言う。i は学習者が現在持っている知識のレベル。+1はそれに足した形でのインプットの意味。 クラッシェンの仮説はナチュラル・アプローチという教授法に繋がっていく。 อ้างอิงจาก https://yousei.arc-academy.net/manbow/index.php/term/detail/360 รู้สึกว่าเท่าที่อ่านเว็บต่างๆ เว็บนี้อธิบายเข้าใจสุดแล้ว และเมื่อประกอบกับคำอิบายของอาจารย์ก็จะมี keyword คำว่า  大量のインプットを入れること(lot's of input)    理解可能なインプット(comprehensible input) inputทีี่ดี ต้องเป็น Natural Approach  และเป็นไปอย่าง TPR (Total Physical Re