アウトプット仮説&のだ

  ก่อนหน้านี้เราได้พูดถึงเรื่องของ インプット仮説 ไปแล้ว คราวนี้มาพูดเรื่อง アウトプット仮説 กันบ้าง (เพื่อความเข้าใจของตัวเอง)

Merrill   Swain

アウトプットหรือภาษาญี่ปุ่นเรียกอีกคำว่า 産出 อีเราฟังครั้งแรกก็นึกถึง 出産
 อาจารย์พูดครั้งแรกภาพมันลอยมาในหัวเลย ฮ่าๆ

   อย่างแรกเลยวิธี アウトプット仮説 นี้ก็จะมีความต่างจาก インプット仮説 ตามคำเลยก็คือเป็นการนำออก(เอาความรู้ที่ input เข้าไปออกมา) เพราะฉะนั้นวิธีนี้จะไม่เหมาะกับผู้เรียน 初級  เพราะยังมี input หรือข้อมูลยังไม่พอที่จะนำไป output จึงเหมาะกับผู้เรียน 中級 ปลายๆถึงระดับ 上級 มากกว่า アウトプット仮説 เนี่ยเอาง่ายๆก็คือวิธีลองถูกลองผิด พอใช้แล้วผิดเราก็จะเจ็บแล้วจำ จะทำให้เรารู้ถึง gap หรือช่องว่างของความรู้ตัวเอง

 
  アウトプット仮説 มี3หลักดังนี้

Noticing function(気づき機能)

      学習者は話す、書くといったアウトプットをすることで、自分が伝えたいこと(Want)と、自分の能力で伝えられること(Can)とのギャップに気づくことができるというものです。このギャップに気づくことで、ギャップを埋めるために自分の中で不明瞭となっている知識を補強したり、新たな知識を得たりとインプットへの注意がより促されるようになるとしています。

Hypothesis-testing function(仮説検証機能)

    学習者は何かを話したり書いたりアウトプットをする際に、いつもその中に何らかの仮説を暗黙的に含めており、アウトプットをし、相手からフィードバックを得ることでその仮説を検証し、必要に応じて修正していくことを指します。人はアウトプットの中で自分の文法や単語が合っているかを試し、相手にそれが正しく伝わったか、伝わらなかったかという反応を見ながらアウトプットの改善を進め、その繰り返しを通じて正しい知識を定着させていくということです。

Metalinguistic function(メタ言語的機能)

    学習者はアウトプットによって自ら学んだ言語について意識的に省みることができ、その自身のアウトプットを制御し、言語に関する知識を内面化することができるという機能のことを指します。アウトプットをすることで、インプット時には目が向かなかった細かい文法ルールなどにも意識が向くようになるというのはまさにこのメタ言語的機能が働くからで、人は自ら話したり書いたりする内容をメタ視点から振り返ることで、学んだ内容を定着させているのです。
   
   อันสุดท้ายแอบงงๆ แต่อาจารย์อธิบายว่า คือการที่ไม่ใช่แค่นำมาใช้ แต่เราต้องสามารถcontroll มันได้ (ก็คืออารมณ์แบบบรรลุไรงี้)


  หลักการนี้เข้าใจได้นะ เห็นได้ชัดเลยจากการเรียนภาษาต่างๆ หลายๆคน(รวมถึงฉันด้วย) เรียนมาเวลานั้นหรืออัดเนื้อหาจนแม่น (ก็คือแกรมม่าเป้ะอ่านออก) แต่พอจะนำมาใช้จริงหรือพูดออกมาไม่ค่อยได้ เพราะฉะนั้นก็จริงที่ว่าเรา input เข้าไปเยอะๆจะทำให้มีความรู้เพิ่มขึ้น แต่ถ้าลองไม่ลองเอาออกมาใช้เราก็จะเป็นคนที่ไม่สามารถนำออกมาใช้ได้ เป็นแค่คนที่มีความรู้เท่านั้น ก็อย่างที่คุณ swain พูด ไม่ใช่ว่า input มันไม่ดีแต่ควรจะทำคู่ไปกับ output ถึงจะเป็นการเรียนรู้ภาษาที่ได้ผลจริงๆ

    การทำ ストリーテーリング ทำให้เห็นผลชัดเจนเลย ครั้งแรกที่ลองพูดเอาตรงๆ พูดไปมั่วมากก แต่พอมาfeed back วันหลังและเห็นตัวอย่างของคนญี่ปุ่นเองหรือของเพื่อนๆ  ทำให้เราได้เรียนว่าควรจะคำนี้ๆ พูดแบบนี้ๆ ถึงจะดีและน่าฟัง คำที่เราลองใช้อาจใช้ไม่ได้กับสถานการณ์นั้นๆ อย่างว่าคนเราพอทำผิดทำพลาดหรือง่ายๆ เจอเรื่องที่ไม่ดีจะจำได้แม่นมากกว่าความจำดีๆ เพราะอาจจะมาจากความฝั่งใจความอายที่ทำพลาด เลยพยายามจะจดจำเพื่อที่ไม่ให้เกิดการผิดพลาดแบบเดิม

    อีกเรื่องที่อาจารย์ถามในห้องเรียนในประเด็นเรื่อง ตอนเรียนชอบให้ชมหรือชอบให้ดุมากกว่า ก็เป็นเรื่องที่น่าสนใจ ซึ่งก็ตามที่คุยในห้องเรียนว่าเรื่องมันแล้วแต่คนจริงๆ เพราะบางคนก็ 褒めたら伸びるタイプ แต่บางคนก็ 叱られて伸びるタイプ คือส่วนตัวก็เป็นคนที่ชอบให้ชมกว่า(แน่นอนใครชอบให้ด่าละ) แต่ก็เคยมีประสบการณ์ที่แบบโดนเพื่อนในรุ่นดูถูกเลยมีไฟอ่านหนัังสือ เพื่อ見返してやりたい จนทำให้ประสบความสำเร็จในครั้งนั้น (มันใช่กรณีนีี้ไหมอะ  ฮ่าๆ)




     หรือว่าจากประสบการณ์การสอนพิเศษ สอนน้อง(แบบต่อตัว)หลายๆคนก็จะเห็นว่า น้องๆก็มีหลายประเภท บางคนก็ชอบให้ชม(ส่วนใหญ่ก็ชอบให้ชมแหละ)เท่าที่ดูมาน้องtype ที่เงียบๆหรือขี้อายส่วนใหญ่เป็นคนคิดมากนิดนึง จะได้ผลเมื่อตอนชมมากกว่า ทางเราจะพยายามไม่ดุไม่ติน้องเพราะบางทีจะทำให้น้องเฟลมาก แต่บางคนที่ออกแนวลุยๆหน่อยพอชมก็จะไม่ได้ดีใจขนาด จะอารมณ์แบบไม่หรอกพี่ แต่ถ้าผิดเราก็จะออกแนวติๆ แซวๆ ว่าผิดตรงนี้ไม่ได้ดิ น้องก็จะจำมากกว่า เหมือนเป็นการกระตุ้นน้องอีกทางนึง เพราะฉะนััั้นควรจะพิจารณาเป็นคนๆ อันนี้คือยังสอนเป็นตัวต่อตัวจึงปรับตามน้องหรือตามบุคคล แต่ถ้านี้เป็นห้องเรียนที่มีคนเรียนเป็นสิบๆ ก็จะเป็นเรื่องยากเพราะเราจะปรับตามคนก็ไม่ได้ (เดี่ยวโดนหาว่าไม่ยุติธรรมอีก) แต่ถ้าเราทำ character เป็นอย่างใดอย่างนึง ก็จะย่อมมีคนที่ชอบเราและไม่ชอบเรา เช่น ถ้าาเราเป็นครูที่ดุ นักเรียนส่วนใหญ่ก็จะไม่ค่อยชอบ แต่จะเกรงกลัวและยอมฟัง ยอมตั้งใจเรียนก็ได้ ในทางกลับกันเราเป็นครูที่ใจดี นักเรียนชอบแต่อาจจะไม่กลัวเรา เราพูดไรก็ไม่ฟัง เพราะฉะนั้นเรานับถือคนที่ทำอาชีพเป็นครู เพราะรู้สึกเป็นการสอนคนเนี่ยเป็นเรื่องที่ยากมาก และต้องสอนหลายๆคนพร้อมกันอีก แค่คิดก็ปวดหัวแล้ว


   今週のワークショップ    
 今回は「のだ」について
    อันดับแรกเลยอย่าว่าแต่ のだ พวกคำที่เป็น modality เราใช้ตามเซนส์ตลอดด เอาตามที่คุ้นเคยเลย คือแบบพอมีคนถามว่าแยกไงหรอแก ก็คืออธิบาทียเป็นหลักการไม่ถูก มันต้องฟังแล้ว เอออันนี้ได้ อันนี้ไม่ได้ (เพราะไม่ลื่นหู) พอโดนถามว่าทำไม  ก็ไม่รู้แต่มันไม่ใช่มันไม่ได้ ก็เลยสนใจคำอธิบาย ความแตกต่างระหว่างมีกับไม่มี(วันหลังจะได้อธิบายให้ชาวบ้านฟังถูก)

    situation 1  คนสองคนที่เพิ่งรู้จักกัน สั่งอาหารในร้าน
      
         A:何をお飲みになるんですか?

    B: ビールをいただくんです。    
  อันนี้ใช่ไม่ได้ เพราะมีแต่ 発話の場 ไม่มี 共有の知識 เกี่ยวข้องจึงใช้แล้วแปลก

    situation 2 มีคนทำกระเป๋าตังค์ตก อยากจะเตือน
          
          落ちたんですよ。  อันนี้ก็ไม่ได้เช่นกัน เพราะเป็น発話の場

  เพราะฉะนั้น のだ จะใช้ตอนที่มี 「発話の場」+「普段」という
  (聞き手の頭の中にある認識の場=共有知識

  พอฟังจบก็แบบ อ๋าาาใช่ๆ จริงด้วยย 胸にストンと落ちる説明 มากๆ ปรบมือดังๆ 

    ~のだ เมื่อสนทนาก็จะมี 2 หน้าที่ก็คือ 強調 และ やわらげ
 ส่วน のだ ในภาษาเขียนมีหน้าที่เพื่อ 認識の更新 ดังนั้นมักจะมาอยู่ในท้ายของย่อหน้านั้นๆ หรือまとめ
 ส่วน どうして จะใช้คู่กับ んですか ประมาณ 99.9% 
  
   เป็นสรุปที่แยกความแตกต่างในการไปใช้และหน้าที่ที่โอเคมากก สำหรับคนที่แยกไม่ค่อยออกซึ่งก็คือชาวต่างชาติที่เรียนภาษาญี่ปุ่น พอมีหลักการมาอธิบายความแตกต่างชัดเจนทำให้ช่วยหลายๆคน (รวมถึวเราที่แยกตามเซนส์มาตลอดแต่อธิบายความแตกต่างไม่ได้)
    ถ้าไม่ได้จัดในหมวดใดในนี้ก็คงจะเป็น 口癖 แล้วละ พูดถึงแล้ว modality ในเีรื่องของ口癖ก็เป็นเรื่องที่อธิบายให้เพื่อนที่เพิ่งเริ่มเรียนญี่ปุ่นยากเหมือนกัน เพราะดูตามอานิเมะงี้มันมีเยอะมากก และ独特สุดๆ



ความคิดเห็น

  1. สรุปได้ดีจัง ทั้งเรื่อง のだ ด้วย ว่าแต่รูป 産出 กับคนคลอดลูก อ่านแล้วขำมากเลย....

    ตอบลบ
  2. นึกว่ามีพี่คนเดียวที่ฟัง 産出 เป็น 出産 5555555 ปล.สรุปอ่านเข้าใจง่ายดีจัง ชอบ

    ตอบลบ
  3. ชอบเวลาโยสรุปมากเลยอะ ออกมาดูโปรเฟสชั่นนอลเพราะมีเท็กซ์ญี่ปุ่นแล้วก็ช่วยไฮไลท์ให้ด้วย ส่วนตรง のだ ส่วนตัวเราน่าจะต้องเจอตัวอย่างมากกว่านี้ถึงจะเกทแหละถึงแม้จะเกทหลักการแล้วแต่ก็ไม่กล้าใช้เท่าไหร่ แหะๆ

    ตอบลบ

แสดงความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

授業三回目 手際の良い説明&待遇表現の活用

応用言語学から