統合&あいづち
Intergration (統合)
”中間言語知識の再構築長期記憶への貯蔵知識へのアクセスの自動化”
TBLT (task-based language teaching) วิธีการสอนนี้จะให้ความสนใจเรื่องการตระหนักรู้ และจิตสำนึกของผู้เรียน
วิธีการสอนนี้(น่าจะ)พัฒนามาจากวิธีการเรียน2แบบคือ
Fon F (focus on forms) เป็น audiolingual method เป็นการสอนแบบ เน้นรูปภาษาและไวยากรณ์ก็คือจะเน้นความถูกต้อง ทำให้พูดถูกต้องแต่คิดเองไม่เป็น เพราะว่าอาจารย์จะให้คำตอบมาทุกครั้ง
และ
focus on meaning (communicate approach) เป็นวิธีที่ถูกฝึกให้พูดออกมา โดยไม่สนใจรายละเอียดก็คือหน้าด้านเป็นหลัก (เป็นวิธีที่คนตะวันตกชอบ) แต่มีข้อเสียคือ ทำให้เกิด fossilization ทำให้ผิดแล้วแก้ไม่ได้ในระยะยาว จนทำให้ผู้เรียนหยุดพัฒนาในตัวภาษา
สองวิธีนี้ที่ต่อมาทำให้การสอนพัฒนาจนเกิด TBLT หรือ focus on form (ไม่มี s จ้ะ) เกิดการสร้างกิจกรรม task นอกจากให้สร้าง output แล้วยังมีกิจกรรมให้ผู้เรียนหันไปใส่ใจในรูปภาษาด้วย (ทำให้มีี 気づき ต่อรูปภาษา เข้าใจความหมายแล้วมาดู form เพื่อได้พัฒนา) เช่น ในหนังสือ まるごと ที่ให้ฟังก่อนแล้วค่อยๆ ให้คำศัพท์ & ความหมาย เสร็จแล้วให้กลับไปฟังใหม่
เอาตรงๆแถวๆนี้ก็เนื้อหาแอบยาก โปรดขอให้อาจารย์เมตตาพวกเรา (ในการออกข้อสอบ)
あいづち
จากการที่ลองคุยกับเพื่อน และเล่าเรื่องพอเรากลับมาดู あいづちのバリエーションของตัวเอง รุ่นพี่ เพื่อน และคนญี่ปุ่นก็ได้เห็นเอกลักษณ์ของแต่ละคน โดยส่วนตัวเราเป็นคนที่ชอบใช้พวก うん系、あー系 และพวกオウム返しเป็นหลัก (อันนี้กรณีคุยกับเพื่อน ถ้าพูดกับผู้ใหญ่ หรือรุ่นพี่ก็น่าจะใช้ はい系สะส่วนใหญ่) พร้อมกับสบตาคนเล่าและพยักหน้าไปด้วย ให้เค้ารู้ว่าเราตั้งใจฟังอยู่นะจ้ะ
พอได้ฟัง 安住紳一郎の日曜天国 ที่เป็นรายการวิทยุที่อาจารย์เปิดให้ฟัง รู้สึกชอบมาก เค้าเล่าเรื่องได้ดีและสนุกมากเลย ทั้งๆที่ปกติแล้วไม่ได้เป็นคนที่ชอบฟังวิทยุนะ แต่รายการนี้ฟังแล้วเพลินดี ฮ่าๆๆ นอกจากความสนุกแล้ว พอเราได้ฟังโดยโฟกัสที่ 相槌ของสาวAD ทำให้เรารู้ว่า 相槌เนี่ยไม่ได้มีไว้เพื่่อมารยาทในการฟัง ให้รู้ว่าเราตั้งใจฟังและสนใจในสิ่งที่อีกฝ่ายพูด แต่ยังทำให้เรื่องเลสนุกขึ้นไปอีก ในทีนี้การ 相槌ของสาวADทำหน้าที่เหมือนเป็นเสียงตัวแทนของท่านผู้ฟังจากทางบ้าน (เพิ่ง่รู้นะว่า การหัวเราะก็ถือเป็น相槌)ถือว่าあいづちดีทำให้เนื้อเรื่องที่เล่าสนุกขึ้นไปอีก
ダメなあいづち
พอดีเห็นในเน็ตเลยเอามานำเสนอจ้า
同じ言葉を繰り返す人」いませんか?
【ダメなあいづち1】「はい、はい、はい」と「はい」を連発する เอาแต่พูดคำซ้ำๆ ทำให้รู้สึกหนวกหู【ダメなあいづち2】「確かに」「なるほどですね」を連発する ทำให้คนฟังรู้สึกว่า คนพูดมีนัยว่า "ฉันสังเกตจุดนั้นตั้งแต่แรกอยู่แล้ว" จึงให้ความรู้สึกที่ไม่ดีเท่าไร
こんな「あいづち」も不愉快です
【ダメなあいづち3】あいづちが毎度「大げさ」すぎる เช่น 「エーッ!」「ウソ!」「ヤダァ!」「マジで!?」「イヤ~ッ」เป็น over action ที่ทำให้คนรำคาญแล้ว รู้สึกว่าตนโดนล้อเลียนอยู่ จึงไม่ควรเล่นใหญ่เกินเหตุ【ダメなあいづち4】「相手の話にかぶせて」あいづちを打つ อันนี้ก็ไม่ดีเพราะทำให้คนที่กำลังเล่าเรื่องอยู่รู้สึกอีกฝ่ายไม่ตั้งใจฟัง เพราะฉะนั้นไม่ควรขัดกลางคัน ควรจะฟังเรื่องอีกฝ่ายให้จบจ้า
「この人、私のことバカにしている?」と不快に
【ダメなあいづち5】あいづちに「変な笑い」を入れる อย่างที่บอกการหัวเราะอาจเป็นあいづちได้ก็จริง แต่เราควรจะหาจังหวะที่เหมาะสม ไม่งั้นอีกฝ่ายจะรู้สึกว่าโดนดูถูกน้าจากบทความ(「嫌われる人の相づち」よくある5つのNGは?「耳障り」「話の腰を折る」あなたは大丈夫?)
เพราะฉะนั้นการ あいづち ไม่ใช่เป็นสิ่งเค้าพูดไรมาก็ตอบๆกลับไป เออ ออ ไปงั้นแต่ควรจะมีสกิล และเทคนิคเพื่อให้คนฟังรู้สึกดีและอยากเล่าเรื่องต่อ ซึ่งก็ไม่ใช่เรื่องที่ง่ายเลยยย
แย่ละ เราชอบใช้ なるほど ซะด้วย แง555555
ตอบลบเมื่อก่อนติดพูดなるほどหนักมากกกก พี่ก็ไม่เข้าใจว่าทำไมอาจารย์ไม่ให้พูด มาอ่านของหนูทีคือเก็ตเลย ต้องระวังให้มาก ๆ สินะ TvT
ตอบลบโอ้ยย なるほど นี่ความรู้ใหม่เหมือนสองคนข้างบนเลยจ้า คิดว่าพูดได้ปกติ ที่ไหนได้ เขามีนัยแฝงแบบนี้นี่เอง วันหลังจะได้ระวัง ถถถถ
ตอบลบ