授業二回目 手際のよい説明
เนื้อหาของครั้งที่สอง(สำหรับเรา)ก็เริ่มต้นด้วยเนื้อหาก่อน
ซึ่งแถวนี้จะค่อนข้างตั้งใจฟังเลย
เพราะดูชีทแล้วไม่น่าจะทำความเข้าใจเองได้ ฟังอาจารย์สรุปเป็นดีทีสุด...
และคนก็นี้คือ Noam Chomsky เป็นนักภาษาศาสตร์ ที่จุดประกายให้เกิด SLA (Second Language Acquisition)
คนเราเกิดมาก็มี universal grammar ก็คือคนเรามีcompentency(ความสามารถในการเรียนรู้ภาษา) ไม่ได้รับมาจากinputหรือสิ่งที่เรียนรู้จากรอบข้าง แต่สามารถผลิตคำแล้วเรียงเองสร้างภาษาของตัวเองได้ (ว้าวว)
นอกจากนี้แล้วนักภาษาศาสตร์ก็นำเสนอแนวคิด CA (contrastive analysis) การเปรียบต่างระหว่างภาษาแม่และภาษาtarget แนวคิดนี้มีแนวคิดว่าศัตรูคือข้อผิด เพื่อเน้นความถูกต้องและผู้เรียนจะได้ไม่ผิด ซึ่งจะเน้น negative transfer
แต่แล้วคราวนี้ คุณพี่ Corder ก็เสนอมาว่า เราควรจะนำข้อผิดของผู้เรียนมาแก้ไขน้า ไม่ใช่เอาแต่ป้องกัน เราจะได้รู้ว่าผู้เรียนชอบผิดตรงไหนและจะได้นำไปปรับปรุงระบบการสอนได้ ทำให้เกิดศาสตร์ "การวิเคราะห์ข้อผิด(error analysis) และสิ่งนี้เองเป็นฐานให้เกิดการพัฒนาศาสตร์ SLA ในเวลาต่อมา
จุดอ่อนของ error analysis คือผู้วิจัยจะไม่สามารถเก็บข้อมูลครบนั้นเอง เพราะผู้เรียนมักจะหลีกเลี่ยงการใช้ไวยากรณ์ที่ตัวเองไม่มั่นใจ(เราเองก็ทำบ่อยๆ ก็กลัวโดนว่านี่น่า) เนื้อหาของวีคนี้ก็จะประมาณนี้ ยังแอบมึนๆพอสมควร ฮ่าๆ
แล้วอาจารย์ก็พาเข้าอีกเรื่องของวันนี้คือ なぜ受け身を使うか นั้นสิทำไมคนญี่ปุ่นชอบใช้กันเนอะ ก่อนหน้านี้ที่เรียนไวยากรณ์ก็เข้าใจว่าทำหน้าที่เป็นรูปถูกกระทำ passive อะไรประมาณนี้ แต่ที่จริงบทบาทหน้าที่ของมันมีความลึกซึ้งมากกว่านั้น...
受け身มีสองประเภทใหญ่ๆคือ 直接受身 ตัวนี้จะสลับประธานกับกรรมได้ และอีกตัวคือ 間接受身ตัวนี้สลับกันไม่ได้ หรือเรียกอีกแบบว่า 迷惑受け身 เช่น いきなり女友達に泣かれて困った。จะให้เซนส์ได้รับผลกระทบทางอ้อมหรือเรียกอีกอย่างว่าซวยนั้นเอง หน้าที่ของ 受け身คือ รักษา視点ไว้ที่ตัวละคร และให้ตัวละนั้นเป็นประธาน(ผู้เขียนอยากมีส่วนร่วมกับตัวละคร) 主語に視点を近づけるため ในทางกลับกันก็ทำหน้าที่ให้主語の視点(存在)を消すため เพราะฉะนั้นแล้วการนำไปใช้ก็จะแตกต่างไปตามประเภทงานเขียน (แบบนี้นี่เอง ว่าแล้วทำไมตอนอ่านนิยายบางเรื่องเราจะรู้สึกเป็น主人公 แต่บางเรื่องเราเหมือนนั่งดูนั่งจากไกลหรือเป็นแค่第三者 เทคนิคการเขียนจะต่างกันนี้เอง)
今日の課題 手際良くBTSチョンナンシー駅からチュラローンコーン大学文学部BRKビルまでの行き方を説明しなさい
แล้วในหัวที่คิดออกตอนนั้นคือ..
แต่อาจารย์ก็ดักก่อนว่า ไม่เอารูปขอเป็นคำอธิบาย omg ฮ่าๆ อธิบายให้ไปให้ถึงจุดหมายน่าจะพอไหว แต่ไม่มั่นใจเลยว่ามันจะออกมา手際がいいหรือเปล่าเพราะส่วนตัวชอบพูดอะไรยืดยาวหรือข้อมูลที่ไม่จำเป็น บางทีเพื่อนก็ชอบทักว่าสรุปต้องการจะบอกอะไร เดี่ยวลองไปไฟต์ดูก่อน สู้!
และคนก็นี้คือ Noam Chomsky เป็นนักภาษาศาสตร์ ที่จุดประกายให้เกิด SLA (Second Language Acquisition)
คนเราเกิดมาก็มี universal grammar ก็คือคนเรามีcompentency(ความสามารถในการเรียนรู้ภาษา) ไม่ได้รับมาจากinputหรือสิ่งที่เรียนรู้จากรอบข้าง แต่สามารถผลิตคำแล้วเรียงเองสร้างภาษาของตัวเองได้ (ว้าวว)
นอกจากนี้แล้วนักภาษาศาสตร์ก็นำเสนอแนวคิด CA (contrastive analysis) การเปรียบต่างระหว่างภาษาแม่และภาษาtarget แนวคิดนี้มีแนวคิดว่าศัตรูคือข้อผิด เพื่อเน้นความถูกต้องและผู้เรียนจะได้ไม่ผิด ซึ่งจะเน้น negative transfer
แต่แล้วคราวนี้ คุณพี่ Corder ก็เสนอมาว่า เราควรจะนำข้อผิดของผู้เรียนมาแก้ไขน้า ไม่ใช่เอาแต่ป้องกัน เราจะได้รู้ว่าผู้เรียนชอบผิดตรงไหนและจะได้นำไปปรับปรุงระบบการสอนได้ ทำให้เกิดศาสตร์ "การวิเคราะห์ข้อผิด(error analysis) และสิ่งนี้เองเป็นฐานให้เกิดการพัฒนาศาสตร์ SLA ในเวลาต่อมา
จุดอ่อนของ error analysis คือผู้วิจัยจะไม่สามารถเก็บข้อมูลครบนั้นเอง เพราะผู้เรียนมักจะหลีกเลี่ยงการใช้ไวยากรณ์ที่ตัวเองไม่มั่นใจ(เราเองก็ทำบ่อยๆ ก็กลัวโดนว่านี่น่า) เนื้อหาของวีคนี้ก็จะประมาณนี้ ยังแอบมึนๆพอสมควร ฮ่าๆ
แล้วอาจารย์ก็พาเข้าอีกเรื่องของวันนี้คือ なぜ受け身を使うか นั้นสิทำไมคนญี่ปุ่นชอบใช้กันเนอะ ก่อนหน้านี้ที่เรียนไวยากรณ์ก็เข้าใจว่าทำหน้าที่เป็นรูปถูกกระทำ passive อะไรประมาณนี้ แต่ที่จริงบทบาทหน้าที่ของมันมีความลึกซึ้งมากกว่านั้น...
受け身มีสองประเภทใหญ่ๆคือ 直接受身 ตัวนี้จะสลับประธานกับกรรมได้ และอีกตัวคือ 間接受身ตัวนี้สลับกันไม่ได้ หรือเรียกอีกแบบว่า 迷惑受け身 เช่น いきなり女友達に泣かれて困った。จะให้เซนส์ได้รับผลกระทบทางอ้อมหรือเรียกอีกอย่างว่าซวยนั้นเอง หน้าที่ของ 受け身คือ รักษา視点ไว้ที่ตัวละคร และให้ตัวละนั้นเป็นประธาน(ผู้เขียนอยากมีส่วนร่วมกับตัวละคร) 主語に視点を近づけるため ในทางกลับกันก็ทำหน้าที่ให้主語の視点(存在)を消すため เพราะฉะนั้นแล้วการนำไปใช้ก็จะแตกต่างไปตามประเภทงานเขียน (แบบนี้นี่เอง ว่าแล้วทำไมตอนอ่านนิยายบางเรื่องเราจะรู้สึกเป็น主人公 แต่บางเรื่องเราเหมือนนั่งดูนั่งจากไกลหรือเป็นแค่第三者 เทคนิคการเขียนจะต่างกันนี้เอง)
今日の課題 手際良くBTSチョンナンシー駅からチュラローンコーン大学文学部BRKビルまでの行き方を説明しなさい
แล้วในหัวที่คิดออกตอนนั้นคือ..
แต่อาจารย์ก็ดักก่อนว่า ไม่เอารูปขอเป็นคำอธิบาย omg ฮ่าๆ อธิบายให้ไปให้ถึงจุดหมายน่าจะพอไหว แต่ไม่มั่นใจเลยว่ามันจะออกมา手際がいいหรือเปล่าเพราะส่วนตัวชอบพูดอะไรยืดยาวหรือข้อมูลที่ไม่จำเป็น บางทีเพื่อนก็ชอบทักว่าสรุปต้องการจะบอกอะไร เดี่ยวลองไปไฟต์ดูก่อน สู้!
บางทีเซนส์การใช้ 受け身 คนญี่ปุ่นนี่ก็แอบเข้าใจยากสำหรับคนไทยอะ เรารู้สึกส่วนตัว55555
ตอบลบเราชอบโยเขียนอะ จับจุดที่เรียนในคลาสมาละเอียดเลย ส่วนเรื่อง 手際 นี่เราว่าโยทำได้แน่!
เป็น ブログเดียวของทั้งชั้นที่สรุปเรื่อง 受身ไว้ ดีมากค่ะ คำอธิบายดีนะคะ 迷惑受身 มีตัวอย่างประกอบทำให้เข้าใจง่าย แต่เรื่อง 視点 ถ้ามีตัวอย่างด้วย คนอ่าน ブログ(ที่ไม่ได้เรียนกับเราหรือขาดเรียน)ก็จะยิ่งเข้าใจมากขึ้น และถ้าบอกตอนต้นว่า 受身 มีหน้าที่....ประการ ตอนต้นก่อน แล้วค่อยลงรายละเอียด (ลำดับการอธิบายจะชัดเจน) จะยิ่งเข้าใจง่ายเข้าไปอีกค่ะ
ตอบลบ