บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2019

統合&あいづち

รูปภาพ
Intergration (統合) ”中間言語知識の再構築長期記憶への貯蔵知識へのアクセスの自動化”   TBLT (task-based language teaching) วิธีการสอนนี้จะให้ความสนใจเรื่องการตระหนักรู้ และจิตสำนึกของผู้เรียน  วิธีการสอนนี้(น่าจะ)พัฒนามาจากวิธีการเรียน2แบบคือ  Fon F (focus on forms) เป็น audiolingual method เป็นการสอนแบบ เน้นรูปภาษาและไวยากรณ์ก็คือจะเน้นความถูกต้อง ทำให้พูดถูกต้องแต่คิดเองไม่เป็น เพราะว่าอาจารย์จะให้คำตอบมาทุกครั้ง  และ focus on meaning   (communicate approach) เป็นวิธีที่ถูกฝึกให้พูดออกมา โดยไม่สนใจรายละเอียดก็คือหน้าด้านเป็นหลัก (เป็นวิธีที่คนตะวันตกชอบ) แต่มีข้อเสียคือ ทำให้เกิด fossilization ทำให้ผิดแล้วแก้ไม่ได้ในระยะยาว จนทำให้ผู้เรียนหยุดพัฒนาในตัวภาษา สองวิธีนี้ที่ต่อมาทำให้การสอนพัฒนาจนเกิด TBLT หรือ focus on form (ไม่มี s จ้ะ) เกิดการสร้างกิจกรรม task นอกจากให้สร้าง output แล้วยังมีกิจกรรมให้ผู้เรียนหันไปใส่ใจในรูปภาษาด้วย (ทำให้มีี 気づき ต่อรูปภาษา เข้าใจความหมายแล้วมาดู form เพื่อได้พัฒนา) เช่น ในหนังสือ まるごと ที่ให้ฟังก่อนแล้วค่อยๆ ให้คำศัพท์ & ความหมาย เสร็จแล้วให้กลับไปฟัง

敬語

รูปภาพ
  ครั้งนี้มีวิทยากรจากมหาวิทยาลัย 東北 มาชื่ออาจารย์ 上原 มาสอนเรื่อง 敬語 ที่เป็นปัญหาสำหรับหลายๆ คนแม้กระทั่งคนญี่ปุ่นเอง ...   คือเรื่อง 敬語 ก่อนหน้านี้ก็เคยเรียนมาบ้างอยู่แล้ว เพราะฉะนั้นพวกเราทุกคนก็พอจะแยกออกว่า คำไหนเป็น 丁寧語 หรือคำไหนเป็น 謙譲語 เพราะตามในหนังสือเรียนที่ผ่านมาเขาก็สอนว่า お+vます(ตัดます)+になりますจะเป็น 丁寧語 ส่วน お+vます(ตัดます)+します จะเป็น 謙譲語 ส่วนคำเฉพาะต่างๆ (เช่นพวก  召し上がります) ที่อยู่นอกกฎก็ท่องจำเอา  ส่วนที่อาจารย์ให้สังเกตว่า ถ้าหากมีตัว ご ข้างหน้าเป็น 丁寧語 หรือคำยกย่องนี้ไม่สามารถให้ 私 เป็นประธานได้ ส่วนหากมีคำว่า 拝 ข้างหน้ามักจะเป็น 謙譲語  ส่วนตารางที่อาจารย์ให้มาใน รูป  活用形式      普通系 丁寧 形 尊敬系 お~になる お~になります 基本形 ~ ~ます 謙譲系 お~する お~します  บอกตรงๆ ว่าตารางนี้ทำให้อะไรๆเข้าใจง่ายขึ้นมากกก  ทำให้เห็นมุมมองของกริยา แยกแยะได้ง่ายว่าเรากำลังเคารพใครหรือถ่อมตัวอยู่ แบบฝึกหัดที่อาจารย์ให้โดยนำ活用形式 มาแบ่งทำให้เห็นภาพได้ชัดขึ้นมาก ว่ากำลังแสดงความเคารพต่อใครหรือคุยกับใครอย

アウトプット仮説&のだ

รูปภาพ
  ก่อนหน้านี้เราได้พูดถึงเรื่องของ インプット仮説 ไปแล้ว คราวนี้มาพูดเรื่อง アウトプット仮説 กันบ้าง (เพื่อความเข้าใจของตัวเอง)   Merrill   Swain アウトプットหรือภาษาญี่ปุ่นเรียกอีกคำว่า 産出 อีเราฟังครั้งแรกก็นึกถึง 出産  อาจารย์พูดครั้งแรกภาพมันลอยมาในหัวเลย ฮ่าๆ    อย่างแรกเลยวิธี アウトプット仮説 นี้ก็จะมีความต่างจาก インプット仮説 ตามคำเลยก็คือเป็นการนำออก(เอาความรู้ที่ input เข้าไปออกมา) เพราะฉะนั้นวิธีนี้จะไม่เหมาะกับผู้เรียน 初級  เพราะยังมี input หรือข้อมูลยังไม่พอที่จะนำไป output จึงเหมาะกับผู้เรียน 中級 ปลายๆถึงระดับ 上級 มากกว่า アウトプット仮説 เนี่ยเอาง่ายๆก็คือวิธีลองถูกลองผิด พอใช้แล้วผิดเราก็จะ เจ็บแล้วจำ จะ ทำให้เรารู้ถึง gap หรือช่องว่างของความรู้ตัวเอง     アウトプット仮説 มี3หลักดังนี้ Noticing function(気づき機能)       学習者は話す、書くといったアウトプットをすることで、自分が伝えたいこと(Want)と、自分の能力で伝えられること(Can)とのギャップに気づく ことができるというものです。このギャップに気づくことで、ギャップを埋めるために自分の中で不明瞭となっている知識を補強したり、新たな知識を得たりとインプットへの注意がより促されるようになるとしています。 Hypothesis-testing function(仮説検証機能)     学習者は何かを話したり書いたりアウトプットをする際に、いつもその中に何らかの仮説を暗黙的に含めており、 アウトプットをし、相手からフィードバ