บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2019

インプット仮説 

รูปภาพ
        วันนี้มาเริ่มต้นด้วยการมาพูดถึง Stephen Krashen กันก่อน    คนนี้คือนักภาษาศาสตร์ที่คิดค้นแนวคิด インプット仮説 ซึ่งเป็นแนวคิดที่อ่านแล้วเข้าใจยากใช้ได้  โดยจะเป็นแนวคิดว่าด้วย  ①習得・学習仮説(ノン・インターフェイスの仮説) :学習と習得は別のものであり、ある言語について学習したとしても、それで話したり、読んだり出来るわけではない。実際に言語を使いこなすには言語を習得しなければならず、習得は学習から独立している。   ② 自然順序仮説 :ある言語を学ぶにはもっとも適した順序がある。何を先に学習し、何を後で学習するのが良いかには法則がある。「 自然習得順序仮説 」ともいう。   ③モニター仮説 :目標言語を学習する際、学習者は常に自分の話していること、書いていることが正しいかどうかをチェックしている。   ④ 情意フィルター仮説 :言語の習得を高めるには学習者の緊張・不安が少ないほど良い。   ⑤インプット仮説 :学習者が現在持っている知識よりも少し上のレベルの内容を学ぶことで習得は促進される。i + 1 とも言う。i は学習者が現在持っている知識のレベル。+1はそれに足した形でのインプットの意味。 クラッシェンの仮説はナチュラル・アプローチという教授法に繋がっていく。 อ้างอิงจาก https://yousei.arc-academy.net/manbow/index.php/term/detail/360 รู้สึกว่าเท่าที่อ่านเว็บต่างๆ เว็บนี้อธิบายเข้าใจสุดแล้ว และเมื่อประกอบกับคำอิบายของอาจารย์ก็จะมี keyword คำว่า  大量のインプットを入れること(lot's of input)    理解可能なインプット(comprehensible input) inputทีี่ดี ต้องเป็น Natural Approach  และเป็นไปอย่าง TPR (Total Physical Re

授業三回目 手際の良い説明&待遇表現の活用

รูปภาพ
   ที่ผ่านมาเรียนเรื่อง SLA FLA CA มาต่างๆ อาทิตย์นี้เรียนเรื่อง           LAD (language acquisition device)    LAD คืออุปกรณ์ทางภาษา ในสมองติดตัวมา เมื่อเด็กได้รับข้อมูลรับหรือ input แม้เพียงเล็กน้อย จะมีการกระตุ้นให้สิ่งนี้ทำงาน แล้วจะทำให้เด็กสามารถเรียนรู้ภาษาจากคนรอบข้างได้อย่างรวดเร็ว ไม่ยากลำบาก และเป็นธรรมชาติ (ขอพื้นที่ในการทบทวนเนื้อหาให้ตัวเองนิดนึงง)   ผลการสำรวจการใช้คำ first word  ของเด็กทารกประเทศญี่ปุ่น ผ่านการตอบทางออนไลน์ของผู้ดูแลจำนวน 800 คน พบว่า first word ลำดับต้นๆ กลับไม่ใช่คำว่า パパ ママ แต่กลับกลายเป็นคำว่า     ”マンマ おっぱい いないいないばぁ”  เป็นสามอันดับแรก เห็นได้ว่ามนุษย์เราเรื่่องกินต้องมาก่อนอันดับแรกเพื่อเอาตัวรอด เด็กทารกไม่เข้าใจหรอกว่าที่พูดออกไปแปลว่าอะไร รู้แต่พูดออกไปแล้วได้กินแน่ ฮ่าๆ ในส่วนของ 待遇表現の活用  เราโอเคมากๆกับส่วนนี้เพราะเราไม่ถนัดเอาซะเลยย บอกตรงๆว่าใช้ภาษาสุภาพที่มากกว่า 敬語 ですます ปกติไม่ค่อยได้ ส่วนตัวชอบอ่านสื่อญี่ปุ่น อ่านนิยายญี่ปุ่น แต่พวกนี้ส่วนใหญ่ก็ไม่ได้เป็นภาษาเชิงธุรกิจ จะเป็นภาษาพูดกันเอง ทางการ และภาษาเขียน(บรรยายเหตุการณ์)

授業二回目 手際のよい説明

รูปภาพ
เนื้อหาของครั้งที่สอง(สำหรับเรา)ก็เริ่มต้นด้วยเนื้อหาก่อน ซึ่งแถวนี้จะค่อนข้างตั้งใจฟังเลย เพราะดูชีทแล้วไม่น่าจะทำความเข้าใจเองได้ ฟังอาจารย์สรุปเป็นดีทีสุด...         และคนก็นี้คือ Noam Chomsky เป็นนักภาษาศาสตร์ ที่จุดประกายให้เกิด SLA (Second Language Acquisition)     คนเราเกิดมาก็มี universal grammar ก็คือคนเรามีcompentency(ความสามารถในการเรียนรู้ภาษา) ไม่ได้รับมาจากinputหรือสิ่งที่เรียนรู้จากรอบข้าง  แต่สามารถผลิตคำแล้วเรียงเองสร้างภาษาของตัวเองได้ (ว้าวว)    นอกจากนี้แล้วนักภาษาศาสตร์ก็นำเสนอแนวคิด CA (contrastive analysis) การเปรียบต่างระหว่างภาษาแม่และภาษาtarget แนวคิดนี้มีแนวคิดว่าศัตรูคือข้อผิด เพื่อเน้นความถูกต้องและผู้เรียนจะได้ไม่ผิด ซึ่งจะเน้น negative transfer   แต่แล้วคราวนี้ คุณพี่  Corder ก็เสนอมาว่า เราควรจะนำข้อผิดของผู้เรียนมาแก้ไขน้า ไม่ใช่เอาแต่ป้องกัน เราจะได้รู้ว่าผู้เรียนชอบผิดตรงไหนและจะได้นำไปปรับปรุงระบบการสอนได้ ทำให้เกิดศาสตร์ "การวิเคราะห์ข้อผิด(error analysis) และสิ่งนี้เองเป็นฐานให้เกิดการพัฒนาศาสตร์ SLA ในเวลาต่อมา