社会文化アプローチ&オチ
วันนี้มา ทบทวนแนวคิดเรื่อง sociacultural approach หรือ 社会文化アプローチ ที่คิดค้นโดย Len Semyonovich Vygotsky ไม่มั่นใจว่าอ่านยังไง แหะๆ Len Semyonovich Vygotsky ซึ่งแนวคิดนี้จะเสนอว่า การเรียนรู้ของเด็กจะประสบคสวามสำเร็จได้จะต้องมีปฏิสัมพันธ์ ทางสังคมหรือกรทำอะไรร่วมกับ ผู้ใหญ่ที่เป็นคนรอบข้าง เช่น พ่อ แม่ ครู เป็นต้น ในหนังสือที่ Vygotsky ได้เขียนตีพิมพ์อออกมา มีการเสนอถึงแนวคิด social constructivism ซึ่งเป็นทฤษฎีสร้างความรู้ด้วยตนเองผ่านการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นในสังคม และอีกแนวคิดหนึ่งคือ แนวคิดพื้นที่รอยต่อพัฒนาการ หรือ ZPD (Zone of Proximal Development) กล่าวคือ เด็กหรือผู้เรียนจะก้าวข้ามพื้นที่รอยต่อพัฒนาการ(ZPD) ไปสู่ระดับพัฒนาการที่สามารถจะเป็นไปได้นั้น จะต้องได้รับความชี้แนะและช่วยเหลือจากคนในสังคมและบงคม ตีความได้ว่า"ฐานการช่วยเหลือ" ที่ช่วยผลักดันให้เด็กหรือผู้เรียนก้าวข้ามไปอีกขั้นหนึ่ง ซึ่งกระบวนการดังกล่าวนี้เรียกว่า scaffolding ตัวอย่างเช่น สังเกตว่าในญี่ปุ่นมี お相撲さんที่เป็นคนต่างชาติมากมาย ทำไมお相撲さんเหล่านั้นถึงได้พูดภาษาญี่ปุ